วันอังคารที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2557

5 อันดับ แบรนด์โน๊ตบุ๊คที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในเดือนกรกฎาคม พร้อมวิเคราะห์ข้อดี-ข้อเสีย

                ในปัจจุบันนี้นั้นมีการแข่งขันการตลาดกันสูงทีเดียว รวมทั้งตลาดโน๊ตบุ๊คที่ไม่น้อยหน้า

ตลาดอื่น แต่อย่างใด และวันนี้ผมจะมาจัดอันดับแบรนดโน๊ตบุ๊คที่ได้รับความนิยมสูงสุดในเดือน

กรกฎาคมที่ผ่านมาครับ

               ผิดพลาดประการใดก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วยนะครับ

5.Apple

 


               ติดโผอันดับ 5 มาอย่างเฉียดฉิวเลย โดยเฉือน Dell มาเพียงเล็กน้อยเท่านั้น โดยเหตุผลที่

คนหันมาใช้ MACBook กันเยอะเพราะว่า

ขอดี

1.แบรนด์ Apple

2.เหมาะแก่การทำงาน

3.มีความเสี่ยงติดไวรัสน้อย

จุดด้อย

1.ราคาแพง

2.ไม่เหมาะเล่นเกม

4.HP



                เป็นแบรนด์ที่คุ้นเคยกันดี โดย HP นั้นนิยมตีตลาดโน๊ตบุ๊คราคาไม่แพงมาก จึงทำให้

ได้ใจผู้ใช้ไปเยอะพอสมควร เพราะว่าคนเราก็ไม่ได้เป็นเศรษฐีกันทุกคนสะหน่อยนิครับ

ข้อดี

1.ดีไซน์สวยงาม(ส่วนมาก)

2.ค่อนข้างอึด

ข้อเสีย

1.มีปัญหาเรื่องความร้อน ( เป็นปัญหาของ HP มานานแล้ว )

2.ดูค่อนข้างบอบบาง

3.ACER


                    เช่นเดียวกับ HP ครับ ACER ก็นิยมตีตลาดล่างครับ โดยก็ได้รับความนิยมพอสมควร

เลยทีเดียวครับ ด้วยสเปคกับราคาที่สมเหตุสมผลกัน ทำให้ได้ใจผู้ใช้ไปพอสมควร

ข้อดี

 1.ราคากับสเปคสมเหตุสมคล

2.เหมาะแก่ผู้มีงบน้อย

ข้อเสีย

1.ผู้ใช้มักบอกว่าเสียง่าย (ตั้งแต่ Tablet ยัน โน๊ตบุ๊ค



2. Lenovo




                    ถือว่าเป็นแบรนด์ยอดฮิตจริงๆครับ ด้วยสเปคที่ออกมาคุ้มกับราคา และราคาที่อยู่ราวๆ

13000 - 35000 บาท ซึ่งถือว่าไม่แพงมาก จึงทำให้ Lenovo ติดโผอันดับ 2 ไปอย่างไม่ต้องสงสัย

ข้อดี

1.มีสเปคที่คุ้มค่าต่อราคา

ข้อเสีย

1.มีปัญหาเรื่องความร้อน

2.อะไหล่แพงพอสมควรเมื่อเข้าศูนย์

1.ASUS




               ตอนนี้ต้องยอมรับแกเลยครับ เพราะพี่แกทำโน๊ตบุ๊คได้ถูกอกถูกใจประชาชนพอสมควร

ด้วยสเปคที่ต้องบอกว่าคุ้มค่าสุดๆ และดีไซน์ที่ไม่แย่จนเกินไป ASUS จึงเป็นที่นิยมอันดับ 1

อย่างไม่ต้องสงสัย

ข้อดี

1.เสปคคุ้มค่าต่อราคา

2.ความอึดที่อึดมากพอสมควร

ข้อเสีย

1.แกนพับหน้าจออยู่ในเกณฑ์น่าผิดหวัง


 สรุป

                       เหตุผลหลักที่ผู้ใช้ทั่วไปเลือก คือความคุ้มค่าต่อราคา รองลงมาก็ ความเชื่อมั่นใน

แบรนด์ และตามมาด้วย การดีไซน์ครับ


            

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น